แนะนำการใช้ Mathematica เบื้องต้นสำหรับนักศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
รวบรวมโดย พงศกร สายเพ็ชร์
กลับไปหน้าแรก
ปัญหาจากนักศึกษา (คุณ Foggy_Ritchy): อยากได้วิธีการวาด equipotential line ในวิชา EM ครับว่าจะออกมางามแค่ไหน
เราสามารถใช้ ContourPlot[...] แสดงรูป Equipotential Line ได้ครับ
ตัวอย่าง point source 1/r
In[1]:=
Out[1]=
ถ้าไม่ต้องการสีเทาก็ใช้ ContourShading -> False
In[2]:=
Out[2]=
เพื่อให้การกำหนด potential ง่ายขึ้น เราจะกำหนด pointPotential[x,y,x0,y0] เป็นค่า potential ที่จุด (x,y) ถ้ามีประจุหน่วยอยู่ที่ (x0,y0)
In[3]:=
In[4]:=
Out[4]=
ภาพสำหรับประจุสองอันที่มีเครื่องหมายต่างกัน อยู่ที่ (-1,0) และ (1,0)
In[5]:=
In[6]:=
Out[6]=
ถ้าต้องการให้มีเส้นมากขึ้น ใช้ Contours -> ...
In[7]:=
Out[7]=
ภาพสำหรับประจุสองอันที่มีเครื่องหมายเหมือนกัน อยู่ที่ (-4,0) และ (4,0)
In[8]:=
In[9]:=
Out[9]=
ถ้าต้องการให้ภาพละเอียดขึ้น ให้ใช้ PlotPoints -> ...
In[10]:=
Out[10]=
ภาพสำหรับประจุสี่อันที่มีเครื่องหมายเหมือนกัน อยู่ที่ (1,1), (1,-1), (-1,-1), (-1,1)
In[11]:=
In[12]:=
Out[12]=
ภาพสำหรับประจุสี่อันที่มีเครื่องหมายสลับกัน อยู่ที่ (1,1), (1,-1), (-1,-1), (-1,1)
In[13]:=
In[14]:=
Out[14]=
วันนี้ขอจบแค่นี้ก่อน หวังว่าคุณจะพบว่า Mathematica นั้นมีประโยชน์ในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์นะครับ ตอนผมเป็นนักเรียนอยู่ Mathematica 1.0 พึ่งออกมา และผมก็ใช้ช่วยในการเรียนและทำความเข้าใจในเรื่องต่างๆได้เป็นอย่างดี
ในตอนด่อๆไป ผมจะเน้นรายละเอียดในเรื่องต่างๆมากขึ้น ถ้าใครมีอะไรสนใจเป็นพิเศษ ก็ช่วยบอกไว้ใน http://mpec.sc.mahidol.ac.th/ หรือเมล์ผม ที่ [email protected] นะครับ
Created by Mathematica (November 5, 2005)